มาตรฐานมอเตอร์ประสิทธิภาพสูงระดับ IE2 (High Efficiency Motor) จะมีค่าประสิทธิภาพสูงกว่ามอเตอร์มาตรฐาน EFF2 และ CEMEP
Knowledge
มาตรฐานมอเตอร์ประสิทธิภาพสูงระดับ IE3 (Premium High Efficiency Motor) จะมีค่าประสิทธิภาพสูงกว่ามอเตอร์มาตรฐาน IE1, IE2, EFF2, EFF1 และ CEMEP
มอเตอร์ไฟฟ้า คืออุปกรณ์ที่มีหน้าที่ “เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล” โดยขดลวดสเตเตอร์ได้รับพลังงานไฟฟ้า และเกิดการเหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นผลให้โรเตอร์หมุน ซึ่งมอเตอร์ไฟฟ้าโดยทั่วไป จะมีส่วนประกอบดังนี้
หลักการเลือกซื้อ เปรียบเทียบราคาและค่าใช้จ่ายในการใช้งานมอเตอร์
การอ่าน รายละเอียดแผ่นป้ายมอเตอร์ไฟฟ้า
รู้จักกับมอเตอร์กันระเบิด
รู้จักกับมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง
เปรียบเทียบการประหยัดค่าไฟ ระยะเวลาคืนทุน ระหว่างมอเตอร์ธรรมดากับมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง
มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงแต่ละยี่ห้อ สามารถประหยัดค่าไฟได้ไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ค่าประสิทธิภาพ (Efficiency) ยิ่งค่าประสิทธิภาพยิ่งสูง ยิ่งประหยัดพลังงานได้มากกว่า
การพิจารณาในการนำมอเตอร์ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงมาใช้งานนั้น จะต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบหลายๆด้าน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด เนื่องจากหากยังไม่เหมาะสมแล้ว การเปลี่ยนอาจจะเป็นการลงทุนที่สูงเกินไป ดังนั้น พอจะสรุปแนวทางในการพิจารณาเลือกที่จะเปลี่ยนมอเตอร์ไฟฟ้าธรรมดาเป็นมอเตอร์ประสิทธิภาพสูงมาใช้งานได้ดังนี้
เป็นที่ทราบกันดีแล้ว ว่า มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง จะสามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่า มอเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป รวมถึง มีความทนทานมากกว่า หลายท่านคงสงสัยว่า จริงๆแล้ว มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง จะสามารถประหยัดค่าไฟได้มากกว่า มอเตอร์ไฟฟ้าทั่วไปเท่าไหร่ มีระยะเวลาการคืนทุนประมาณไหน เมื่อตัดสินใจซื้อมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง มาแทนมอเตอร์ตัวเก่า . . . . ท่านสามารถดูรายละเอียดประกอบการตัดสินใจได้ตามตารางดังนี้
โดยทั่วไปแล้ว มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง (High Efficiency Motor) จะมีราคาสูงกว่า มอเตอร์มาตรฐาน (Standard Motor) อยู่ประมาณ 20-30% แต่โดยเฉลี่ย ราคาค่าไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้าตลอดอายุการใช้งาน (ประมาณ 15-20 ปี) จะมีมูลค่ามหาศาลเมื่อเทียบกับราคาของตัวมอเตอร์
ปี 2558 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้กำหนดคุณลักษณะเฉพาะของมอเตอร์ ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางแก่สถานประกอบการ
ที่มาของ “แรงม้า” (Hp – Horsepower) ที่ใช้เรียกหน่วยของมอเตอร์ไฟฟ้า หรือ เครื่องยนต์ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ เมื่อ “เจมส์ วัตต์” (James Watt) นักวิทยาศาสตร์ชื่อดังชาวอังกฤษ ได้ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำรุ่นเก่าของ “โธมัส นิวโคเมน” (Thomas Newcomen) จนได้เป็นเครื่องจักรไอน้ำแบบใหม่ และวัตต์ ได้ขอคิดค่าลิขสิทธิ์เท่ากับ 1 ใน 3 ของมูลค่าถ่านหินที่เครื่องจักรของเขาช่วยประหยัดได้เมื่อเทียบกับการใช้เครื่องจักรรุ่นเก่าของนิวโคเมน
นอกเหนือจากการเลือกนำมอเตอร์ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงมาใช้งานแล้ว การใช้งานของโหลดและสภาพแวดล้อมของตัวมอเตอร์ ก็มีผลต่ออายุใช้งานและการบำรุงรักษาของมอเตอร์ ซึ่งพอจะแยกสาเหตุและวิธีการในการบำรุงรักษามอเตอร์ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและมีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น